ระบบผลิตน้ำประปา
ระบบผลิตน้ำประปารับออกแบบ ติดตั้ง วางระบบประปา ระบบตกตะกอน clarifier ระบบสุขาภิบาล โรงงานอุตสาหกรรม ระบบประปาบาดาล ประปาเทศบาล อบต. ระบบผลิตน้ำประปาของภาครัฐ ระบบผลิตน้ำประปาชุมชนขนาดใหญ่ ระบบกรองน้ำประปา ผลิตน้ำประปาน้ำใช้ของมหาวิทยาลัย โรงพยาบาล โรงแรม
การทำน้ำใสด้วยเมมเบรน
รายละเอียดของระบบผลิตน้ำประปาชนิดต่างๆตามการใช้งานและวิธีการผลิตน้ำประปา
ระบบผลิตน้ำประปา ผิวดิน
ระบบผลิตน้ำประปาแบบอัติโนมัติ
ระบบผลิตน้ำประปาจากน้ำบาดาล
ระบบผลิตน้ำประปาโรงงานอุตสาหกรรม
ระบบผลิตน้ำประปาหมู่บ้าน
ระบบผลิตน้ำประปาแบบคลองวนเวียน
ระบบผลิตน้ำประปาขนาดเล็ก
ระบบผลิตน้ำประปาขนาดใหญ่
ระบบผลิตน้ำประปาแบบLamella
ระบบผลิตน้ำประปาแบบreuse water
ระบบผลิตน้ำประปาแบบฆ่าเชื้อด้วยคลอรีน
ระบบผลิตน้ำประปาแบบน้ำแร่
ระบบผลิตน้ำประปาฆ่าเชื้อด้วยระบบโอโซน
การออกแบบระบบผลิตน้ำประปา
Segawater รับออกแบบ ติดตั้ง ระบบผลิตน้ำประปา ระบบประปาผิวดิร รับวางระบบประปาโรงงาน เดินระบบประปาโรงงาน ระบบผลิตน้ำประปาสำหรับโรงงานอุตสาหกรรม ระบบผลิตน้ำประปาของโรงแรม รีสอร์ท และชุมชน ระบบประปาหมู่บ้าน อบต. เทศบาลและหน่วยงานต่างๆ วางระบบประปาทั่วประเทศ
-ขั้นตอนการออกแบบระบบผลิตน้ำประปา มาตรฐาน
-วัตถุประสงค์ในการนำน้ำจากแหล่งน้ำธรรมชาติมาผลิตเป็นน้ำประปา
-การที่หน่วยงานหรือองค์กรต่างๆ ทั่งภาครัฐและเอกชน มีความต้องการที่จะนำน้ำจากแหล่งน้ำธรรมชาติมาใช้เพื่อผลิตเป็นน้ำประปาอาจมีความต้องการที่แตกต่างกัน เช่นในภาครัฐอาจต้องการผลิตน้ำประปาเพื่อใช้กับภาคครัวเรือนหรือประชากรในท้องที่ น้ำประปาจังหวัด น้ำประปาอบจ. น้ำประปาอบต.ประปาของศูนย์ราชการ ประปาหน่วยงานความมั่นคงโรงพยาบาล โรงเรียน มหาวิทยาลัย สถานศึกษาต่างๆ ส่วนภาคเอกชนอาจต้องการนำน้ำจากแหล่งน้ำธรรมชาติผลิตเป็นน้ำประปา เพื่อมาใช้ในการเป็นส่วนประกอบการผลิตสินค้า
-Flow Diagram ขั้นตอนการผลิตน้ำประปาเบื้องต้น
คุณภาพน้ำดิบสำหรับผลิตน้ำประปา
แหล่งน้ำที่นำมาผลิตเป็นน้ำประปา ปกติจะมี 3ประเภท หลักๆ
1.น้ำผิวดิน เช่น อ่างเก็บน้ำ แม่น้ำ ลำคลอง ลำห้วย ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมในการผลิตน้ำประปาของหน่วยงานนั้นๆ
2.น้ำบาดาล ปกติการนำน้ำบาดาล มาผลิตเป็นน้ำประปาจะต้อง เช็คอัตราการไหลของบ่อน้ำบาดาลก่อนว่าเพียงพอต่อความต้องการผลิตน้ำประปาที่เป็นการใช้งานจริงต่อพื้นที่นั้นๆ เช่นต้องการใช้น้ำที่20ลบ.ม.ต่อชั่วโมง แต่บ่อบาดาลสามารถรองรับได้แค่ 5ลบ.ม.ต่อชั่วโมงเป็นต้น
3.การผลิตน้ำประปาจากน้ำทะเล จะเป็นพื้นที่ห่างไกลจากชายฝั่ง เช่นตามเกาะต่างๆ หรือจากเรือเดินสมุทร
https://www.mwa.co.th/download/prd01/water_technology/pdf_water_treatment_plant/wtp_problem.pdf
https://www.mwa.co.th/ewt_news.php?nid=428&filename=indexคลิกอ่านเพิ่มเติม
-แหล่งน้ำดิบมีมากมายที่จะนำมาใช้เป็นระบบผลิตน้ำประปาผิวดิน แบบอัติโนมัติ และระบบผลิตน้ำประปาขนาดใหญ่แบบอื่นๆ
ขั้นตอนการผลิตน้ำประปาผิวดินและระบบกรองน้ำประปาผิวดิน
ค่าออกแบบที่ต้องการได้แก่
1.ความต้องการอัตราการผลิตน้ำประปาต่อวัน
2.แหล่งน้ำที่จะนำมาเป็นเป็นน้ำประปา
-เมื่อเราได้สำรวจแหล่งน้ำดิบที่จะนำมาผลิตเป็นน้ำประปาผิวดินเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และศึกษาช่องทางที่จะนำน้ำจากแหล่งน้ำมาเข้าระบบผลิตน้ำประปา อาจสร้างเป็นแพสูบน้ำหรือโรงสูบน้ำ
3.พื้นที่ในการก่อสร้างและจัดตั้งโรงผลิตน้ำประปา
4.กระบวนการเลือกและออกแบบระบบผลิตน้ำประปาผิวดิน โดยมีการเลือกวิธีผลิตน้ำประปาผิวดินหลายวิธี
5.ตรวจสอบค่าน้ำประปาหลังจากผลิตน้ำประปาสมบูรณ์
6.การนำน้ำไปใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์
7.การดูแลรักษาระบบผลิตน้ำประปา
8.การอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ดูแล
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการผลิตน้ำประปา
หน่วยงานภาครัฐกับการผลิตน้ำประปา
กระบวนการผลิตน้ำประปานครหลวง
หน่วยงานภาคเอกชนกับการผลิตน้ำประปา
ระบบผลิตน้ำใช้ในโรงงาน
สารเคมีที่ใช้กับระบบการผลิตน้ำประปา
ถังตกตะกอนกับการผลิตน้ำประปา
ตัวอย่างมาตรฐานคุณภาพน้ำประปาของการประปาส่วนภูมิภาค
1. คุณลักษณะทางกายภาพ
สีปรากฏ (Apperancecolour) Pt-Co Unit 15 รสและกลิ่น(Taste and odour) - ไม่เป็นที่น่ารังเกียจ ความขุ่น (Turbidity) NTU 4 ความเป็นกรด-ด่าง (pH) - 6.5 - 8.5
2.คุณลักษณะทางเคมี
ปริมาณสารที่ละลายทั้งหมด (Total dissolved solids) mg/l 600 เหล็ก (Iron) mg/l 0.3 แมงกานีส(Manganese) mg/l 0.3 ทองแดง (Copper) mg/l 2.0 สังกะสี (Zinc) mg/l 3.0 ความกระด้างทั้งหมด (Total hardness as CaCO3 ) mg/l 300 ซัลเฟต(Sulfate) mg/l 250 คลอไรด์(Chloride) mg/l 250 ฟลูออไรด์ (Fluoride) mg/l 0.7 ไนเตรทในรูปไนเตรท(Nitrate as NO3 ) mg/l 50 ไนไตรท์ในรูปไนไตรท์(Nitrite as NO2 ) mg/l 3
3.คุณลักษณะทางจุลชีววิทยา
โคลิฟอร์มแบคทีเรียทั้งหมด(Total Coliform bacteria) ต่อ100ml ไม่พบ อีโคไล (E.coli) ต่อ100ml ไม่พบ สแตฟฟิลโลค็อกคัส ออเรียส(Staphylococcusaureus) ต่อ100ml ไม่พบ แซลโมเนลลา (Salmonellaspp.) ต่อ100ml ไม่พบ คลอสทริเดียมเพอร์ฟริงเจนส์(Clostridium perfringens) ต่อ100ml ไม่พบ
4.สารเป็นพิษ
ปรอท (Inorganic mercury) mg/l 0.001 ตะกั่ว (Lead) mg/l 0.01 สารหนู (Arsenic) mg/l 0.01 ซีลีเนียม(Selenium) mg/l 0.01 โครเมียม (Chromium) mg/l 0.05 แคดเมียม (Cadmium) mg/l 0.003 แบเรียม (Barium) ไซยาไนด์ (Cyanide ) mg/l mg/l 0.7 0.07 1/2 มาตรฐานคุณภาพน ้าประปาของการประปาส่วนภูมิภาค(ต่อ) ตามค้าแนะน้าขององค์การอนามัยโลก(WHO) ปี 2011 รายการ (Parameter) หน่วย (Units) มาตรฐาน คุณภาพน ้าประปา
5.สารเคมีที่ใช้ป้องกันและก้าจัดศัตรูพืช
อัลดรินและดิลดริน (Aldrin and dieldrin) µg/l 0.03 คลอเดน (Chlordane) µg/l 0.2 ดีดีที (DDT) µg/l 1 เฮปตาคลอและเฮปตาคลออีพอกไซด์ (Heptachlor and heptachlor epoxide) µg/l 0.03 เฮกซะคลอโรเบนซีน(Hexachlorobenzene) µg/l 1 ลินเดน (Lindane) µg/l 2 เมททอกซิคลอร์ (Methoxychlor) µg/l 20
6. ไตรฮาโลมีเทน
คลอโรฟอร์ม (Chloroform) µg/l 300 โบรโมไดคลอโรมีเทน (Bromodichloromethane) µg/l 60 ไดโบรโมคลอโรมีเทน(Dibromochloromethane) µg/l 100 โบรโมฟอร์ม (Bromoform) µg/l 100
7. สารกัมมันตภาพรังสี
ความแรงรวมรังสีแอลฟา (Gross alpha activity) Bq/l 0.5 ความแรงรวมรังสีเบต้า (Gross beta activity) Bq/l 1
หมายเหตุคลอรีนคงเหลือในระบบจ่ายน้้าประปาไม่น้อยกว่า 0.2 mg/
ระบบผลิตน้ำประปาที่ได้มาตรฐาน สามารถนำมาผลิตเป็นน้ำดื่มได้อย่างปลอดภัย
-การทำน้ำให้ใสจากแหล่งน้ำผิวดินตามธรรมชาติ โดยปกติจะใช้กระบวนการทำระบบเติมสารเคมีเพื่อเร่งตะกอนให้ตกตะกอนลงในถังตกตะกอน ก่อนที่น้ำใสจะไหลลงรางรับน้ำด้านบนของถังตกตะกอนและเข้าสู่ถังเก็บน้ำใสต่อไป หลังจากนั้นจะเข้าสู่กระบวนการกรองน้ำเพื่อให้ได้คุณภาพน้ำที่ต้องการ
-กระบวนหรือขั้นตอนการผลิตน้ำประปาผิวดิน เริ่มจากการสูบน้ำดิบ แล้วเข้าสู่กระบวนการเติมสารเคมีเร่งตกตะกอน อาทิ สารส้ม แพค หรือโพลิเมอร์ โซดาไฟหรือคลอรีน ก่อนเข้าสู่ถังตกตะกอน อนุภาคของสารแขวนลอยจะรวมกันสู่ก้นถังตะกอน น้ำใสจะถูกดันขึ้นด้านบนถังตะกอน ต่อไป และจะเข้าสู่ถังพักน้ำใส หลังจากนั้นจะผ่านกระบวนการกรองน้ำ และอาจจะเติมคลอรีนฆ่าเชื่อในน้ำ เพื่อนำน้ำประปาไปใช้ต่อไป
-คุณภาพน้ำประปาที่ได้ ควรมีค่าความขุ่นของน้ำไม่เกิน 5 Ntu
-การกรองน้ำจากน้ำบาดาล ควรคำนึงถึงค่าหินปูน สนิมเหล็ก และค่าความเค็มในน้ำเป็นหลัก ว่าเหมาะสมที่ท่านจะลงทุนในการใช้น้ำหรือไม่
รุปงานติดตั้งระบบผลิตน้ำประปาผิวดิน แบบอัติโนมัติ
การนำน้ำผิวดินจากแหล่งน้ำธรรมชาติ ขึ้นมาเพื่อปรับสภาพความใสของน้ำโดยใช้ระบบเคมีช่วยในการตกตะกอนระบบผลิตน้ำประปาผิวดินแบบอัติโนมัติโดยการผ่านระบบกรองตะกอนอีกขั้นแบบถังกรองออโตเมติก
ระบบผลิตน้ำประปาผิวดินโดยการใช้ระะบบเติมเคมีช่วยเร่งในการตกตะกอนแบบอัติโนมัติ
การออกแบบขนาดถังตกตะกอนที่ใช้ในกระบวนการผลิตน้ำประปาผิวดิน สิ่งที่ต้องคำนึงถึง คือสภาพน้ำดิบจากแหล่งน้ำที่เป็นปัจจัยในการออกแบบ เเละเลือกขนาดถังตกตะกอนที่จะนำมาใช้งานให้ได้ปริมาณน้ำใส ในอัตราที่ต้องการ
วีดีโอแสดงน้ำใสล้นออกจากรางเวียร์ จากการนำน้ำผิวดินมาทำเป็นน้ำประปา
วีดีโอแสดงการทำน้ำใส ในกระบวนการผลิตน้ำประปาจากบ่อน้ำผิวดิน โดยใช้ถังตกตะกอนแบบ jet clarifier
i
วีดีโอการทำน้ำประปาด้วยการใช้ถังตกตะกอน โดยในการทำน้ำประปาผิวดิน ออกแบบโดยการใช้เคมีช่วยเร่งตกตะกอน
ระบบตกตะกอน clarifier tank ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ทำน้ำประปาผิวดิน
ถังตกตะกอนแบบ Pulsator Sedimentation Tank ผลิตน้ำประปาผิวดิน